บทความสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

วิธีดูแลผิวหนังให้ผู้ป่วยติดเตียง เพื่อให้ห่างไกลจากแผลกดทับ

ด้วยภาวะติดเตียง ผิวหนังของผู้ป่วยจะมีปัจจัยเสี่ยงด้านแผลกดทับเป็นเรื่องสำคัญ ผู้ดูแลจำเป็นต้องดูแลผิวหนังให้ผู้ป่วยติดเตียง

4 เหตุผลที่ต้องป้องกันแผลกดทับ ไม่ให้เกิดกับผู้ป่วยติดเตียง

สำหรับผู้ป่วยติดเตียง สิ่งที่น่ากังวลที่สุดคือแผลกดทับ สารพัดความกังวล สามารถแก้ไขได้ ด้วยการเข้าใจถึงเหตุผลที่ต้องป้องกันแผลกดทับ

วิธีเลือกที่นอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ

สำหรับผู้ป่วยติดเตียงที่ต้องใช้เวลาอยู่บนเตียงเกือบทั้งวัน การเลือกที่นอนป้องกันแผลกดทับจึงสำคัญที่สุดสำหรับผู้ดูแลเพื่อป้องกันแผลกดทับ

5 วิธีป้องกันการเกิดแผลกดทับ ตามหลัก SSI-ET Bundle

สิ่งสำคัญที่ผู้ดูแลต้องรู้ 5 วิธีป้องการแผลกดทับตามหลัก SSI-ET Bundle ของโรงพยาบาลศิริราช เพราะแผลกดทับเป็นปัญหาสำคัญของผู้ป่วยติดเตียง

ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ในผู้ป่วยติดเตียง

สิ่งที่ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงต้องรู้ คือปัจจัยอะไรบ้างที่เสี่ยงทำให้เกิดแผลกดทับ หากหลีกเลี่ยงได้ ก็จะช่วยลดความเจ็บปวด และโรคแทรกซ้อน

แผลกดทับคืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร

มาทำความรู้จักกันว่า แผลกดทับ คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร เพื่อที่ผู้ดูแลจะได้ช่วยผู้ป่วยติดเตียงหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทำให้เกิดแผลกดทับ

การนวดเพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด

สิ่งสำคัญที่จะช่วยป้องกันผู้ป่วยติดเตียงจากอาการยึดติดของกล้ามเนื้อ คือ การนวดเพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย เป็นวิธิเสริมควบคู่ กายภาพบำบัด

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยติดเตียง จากเตียงไปรถเข็นอย่างไร ให้ผู้ป่วยปลอดภัย

ผู้ป่วยติดเตียงไม่จำเป็นต้องอยู่บนที่นอนตลอดเวลา ผู้ดูแลควรรู้วิธีเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากเตียงไปรถเข็นอย่างไร ให้ผู้ป่วยปลอดภัย

การจัดท่านั่งที่เหมาะสม สำหรับผู้ป่วยติดเตียง

สิ่งที่มีความสำคัญไม่แพ้การจัดท่านอนให้ผู้ป่วยติดเตียง ก็คือ การจัดท่านั่งที่เหมาะสม เป็นสิ่งที่ผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้

การจัดท่านอนที่เหมาะสม สำหรับผู้ป่วยติดเตียง

เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับ การจัดท่านอนที่เหมาะสม ให้ผู้ป่วยติดเตียงเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้ว่ามีท่าอะไรบ้าง