ท่ายืนที่เหมาะสม สำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง
สำหรับผู้ป่วยติดเตียง ท่ายืนที่เหมาะสมถูกต้อง จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ป่วยและยังป้องกันผู้ดูแลจากอาการบาดเจ็บที่เกิดจากการช่วยเหลือได้
วิธีตรวจร่างกายเบื้องต้น เพื่อการดูแลผู้ป่วยติดเตียงด้วยตนเอง
ผู้ป่วยติดเตียงใช้เวลาส่วนใหญ่นอนรักษาตัวที่บ้าน ผู้ดูแลจำเป็นต้องทราบวิธีการตรวจร่างกายเบื้องต้น เพื่อให้แก้ไขได้อย่างทันท่วงที
สวนปัสสาวะผู้ป่วยติดเตียง อย่างไรให้ถูกต้อง ไม่เสี่ยงติดเชื้อ
คนทั่วไปจะปัสสาวะวันละ 5-6 ครั้ง แต่สำหรับผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ จำเป็นต้องใช้วิธีสวนปัสสาวะ เพื่อให้ร่างกายขับของเสีย
กิจกรรมง่าย ๆ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยติดเตียงผ่อนคลาย
อารมณ์และความรู้สึกเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียง จำเป็นต้องมีกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผ่อนคลาย ทำให้ผู้ป่วยมีกำลังใจที่ดี
จัดท่าป้อนข้าวอย่างไร ไม่ให้ผู้ป่วยติดเตียงตัวไหล
ผู้ป่วยติดเตียงแต่ละคนช่วยเหลือตนเองได้แตกต่างกัน บางคนไม่สามารถประคองตัวลุกได้ ผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้วิธีจัดท่าป้อนข้าวให้ผู้ป่วย
วิธีแก้ภาวะกลืนลำบากในผู้ป่วยติดเตียง
ภาวะกลืนลำบาก (dysphagia) เกิดจากความผิดปกติเกี่ยวกับการกลืน มักพบในผู้สูงอายุ ผู้ดูแลจำเป็นต้องทราบวิธีช่วยเหลือผู้ป่วย
ป้อนอาหารผู้ป่วยติดเตียงอย่างไร เมื่อต้องใช้สายให้อาหาร
ถ้าผู้ป่วยต้องใช้สายให้อาหาร จะป้อนอาหารผู้ป่วยติดเตียงอย่างไร เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ดูแลต้องรู้ เพราะผู้ป่วยไม่สามารถกลืนอาหารเองได้
เลือกอาหารเสริมสำหรับผู้ป่วยติดเตียงอย่างไรดี
ร่างกายของผู้ป่วยติดเตียงต้องประสบภาวะถดถอยมากกว่าเจริญเติบโต จำเป็นต้องได้รับอาหารเสริม เพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูสมรรถนะต่างๆ ได้ดีขึ้น
โภชนาการที่เหมาะสมกับผู้ป่วยติดเตียง
สำหรับผู้ป่วยติดเตียง จำเป็นต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ทั้ง 5 หมู่ แต่ต้องรับประทานง่าย ย่อยง่าย ได้รับโภชนาการที่เหมาะสมและเพียงพอ
วิธีดูแลผิวหนังให้ผู้ป่วยติดเตียง เพื่อให้ห่างไกลจากแผลกดทับ
ด้วยภาวะติดเตียง ผิวหนังของผู้ป่วยจะมีปัจจัยเสี่ยงด้านแผลกดทับเป็นเรื่องสำคัญ ผู้ดูแลจำเป็นต้องดูแลผิวหนังให้ผู้ป่วยติดเตียง