บทความสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

ภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยติดเตียงอันตรายกว่าที่คุณคิด

การที่ผู้ป่วยดื่มน้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดน้ำ ซึ่งอาจรุนแรงถึงขั้นภาวะหัวใจล้มเหลวและไตวายได้เลย

ผู้ป่วยติดเตียงกับภาวะแทรกซ้อนที่ผู้ดูแลควรระวัง

หลักสำคัญในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงคือ การหลีกเลี่ยงไม่ให้ผู้ป่วยติดเตียงเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ดังนั้นผู้ดูแลจำเป็นต้องใส่ใจและระมัดระวัง

ถุงอาหารผู้ป่วยล้างอย่างไรให้มั่นใจว่าสะอาดและปลอดภัยไร้การปนเปื้อน

ผู้ป่วยติดเตียงหลายคนไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ จำเป็นต้องใช้ถุงใส่อาหารให้ผ่านทางสายยาง ดังนั้นจำเป็นต้องรู้วิธีล้างถุงอาหารผู้ป่วย

ถุงมือดูแลผู้ป่วย ใช้อย่างไรถึงจะถูกวิธีและไม่สิ้นเปลือง

อุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงคือ ถุงมือ โดยการสวมถุงมือเพื่อป้องกันและลดการสัมผัสสิ่งสกปรก หรือบาดแผลผู้ป่วยโดยตรง

จัดการสารพัดปัญหาเมื่อผู้ป่วยติดเตียงขับถ่ายเลอะที่นอน

ปัญหาใหญ่ของผู้ป่วยติดเตียงที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ คือ ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายของตนเองได้จนเลอะที่นอน ผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้วิธีจัดการ

แนวทางในการลดความเครียดให้ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแล

ผู้ป่วยติดเตียง ต้องดูแลเอาใจใส่เรื่องอารมณ์และสุขภาพทางใจ ผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้วิธีลดความเครียดให้ผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยมีความอ่อนไหวสูง

วิธีปฐมพยาบาลกรณีผู้ป่วยติดเตียงมีอาการชักหรือช็อก

หนึ่งในภาวะที่ผู้ป่วยติดเตียงมีโอกาสเป็น คือภาวะชักหรือช็อกในผู้ป่วย ทำให้ผู้ดูแลทำตัวไม่ถูกว่าต้องรับมืออย่างไร จำเป็นต้องทำความเข้าใจ

วิธีป้องกันและรับมือกรณีผู้ป่วยติดเตียงเกิดอาการสำลัก

ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอกับผู้ป่วยติดเตียง คือ อาการสำลักเวลากลืนอาหาร อาจอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นผู้ดูแลจำเป็นต้องรู้วิธีรับมือ

เทคนิคง่าย ๆ ในการถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยติดเตียง

สำหรับผู้ดูแลที่มีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยติดเตียง จะรู้เพียงวิธีสวมใส่เสื้อผ้าไม่พอ ต้องรู้วิธีการถอดเสื้อผ้าให้ผู้ป่วยติดเตียงด้วย

วิธีสวมเสื้อผ้าให้กับผู้ป่วยติดเตียง แค่รู้เทคนิคคุณก็ทำได้

เมื่อผู้ดูแลทำความเข้าใจกับวิธีการดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้แล้ว จะพบว่าไม่ได้ยากเกินไป การสวมเสื้อให้ผู้ป่วยก็เช่นกัน ต้องทำความเข้าใจก่อน