บทความสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

ท่านอนที่ถูกต้องของผู้ป่วยติดเตียง

เพื่อป้องกันความผิดปกติของกล้ามเนื้อ ลดการเกิดแผลกดทับ การจัดท่านอนที่ถูกต้องสำหรับผู้ป่วยติดเตียงเป็นสิ่งที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วย

วิธีดูแลผู้ป่วยติดเตียงที่บ้าน

หากคุณกำลังจะมีผู้ป่วยติดเตียงย้ายกลับมารักษาตัวที่บ้าน ผู้ดูแลจำเป็นต้องเตรียมตัวให้พร้อม เพื่อความสะดวกทั้งตัวผู้ป่วยและผู้ดูแล

วิธีดูแลแผลกดทับที่ถูกต้อง ฉบับมือใหม่

แผลกดทับ คือ การถูกทำลายเฉพาะที่ของผิวหนัง เกิดจากการถูกกดทับเป็นเวลานาน จำเป็นต้องรู้วิธีดูแลแผลกดทับแต่ละระดับตามความรุนแรงของแผล

ข้อควรระวัง เมื่อมีผู้สูงอายุนอนติดเตียงที่บ้าน

การดูแลผู้สูงอายุติดเตียง เป็นที่ต้องใช้ความระมัดระวังและรอบคอบ ผู้ดูจำเป็นต้องรู้ข้อควรระวังต่างๆ ในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่บ้าน

ภาวะความดันโลหิตตกขณะเปลี่ยนท่า

เมื่อผู้ป่วยเกิดการบาดเจ็บไขสันหลัง อาจมีภาวะแทรกซ้อนมา

โรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก ภัยใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม

หากเราไม่สามารถควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบนใบหน้าได้ อาจะเป็นสัญญาณของโรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก ซึ่งเกิดจากการทำงานผิดปกติของเส้นประสาท

บาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury

การเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์ จากการทำงาน หรือการปะทะ นำไปสู่การบาดเจ็บไขสันหลัง อาการอาจร้ายแรง จนส่งผลให้เป็นอัมพาต หรือกระทบต่อการใช้ชีวิต

โรคหลอดเลือดสมอง หนึ่งสาเหตุที่ทำให้ติดเตียง

สาเหตุต้นๆ ของการตายหรือการนอนติดเตียง คือ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นภาวะที่เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้ หากรักษาไม่ทันก็จะนำไปสู่ความสูญเสีย

5 การรับมือกับปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์

เมื่อเกิดสภาวะใดๆแก่ร่างกายหนักๆ นำไปสู่พฤติกรรมและอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ดูแลจำเป็นรู้วิธีรับมือ เพื่อไม่ให้ผิดใจกับผู้ป่วย

ภาวะซึมเศร้าหลังจากโรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยสูงอายุ หลังการป่วยมีโอกาสก่อให้เกิดความบกพร่องในการทำงานและยังอาจเป็นภาวะซึมเศร้า จากความผิดปกติทางอารมณ์